เจริญลักษณ์ เพ็ชรประดับ

เรื่องของการดูแลคนเปราะบางซึ่งในช่วงที่ผ่านมาเนี่ยได้มีโอกาสทำงานกับทางกสสนะครับแล้วก็ทำงานกับทางพมจซึ่งก็เป็นหน่วยงานของรัฐที่มาดูแลเรื่องเขาเรียกความคนเปราะบาง 5 มิติซึ่งก็จะมีทั้งเรื่องรายได้ที่อยู่อาศัยเรื่องของการศึกษาการเข้าถึงสวัสดิการของรัฐแล้วก็เรื่องของสุขภาพซึ่งใน 5 มิติเนี่ยเราได้พบว่ามันเป็นมันเป็นปัญหาที่ค่อนข้างกว้างแล้วก็มีข้อจำกัดของภาครัฐในการที่จะไปดูแลเมื่อสักครู่เห็นท่านผู้มีเกียรติที่มาภาคในเชิงของภาระความรับผิดชอบแบบการดูแลในระบบแบบเหมือนประชาสงเคราะห์มันอาจจะเป็นแนวคิดที่ที่อาจจะต้องมีข้อจำกัดเยอะมากเรื่องหลักคิดนะเรื่องการดูแลเพราะว่ารัฐก็มีข้อจำกัดเรื่องเงินและมีบทเรียนตอนช่วงเกิดโควิดนายทีมที่ขอนแก่นอยากจะลองนำเสนอดูนะครับว่าถ้าหากว่าสภาพัฒน์เห็นว่ามันมีความสำคัญถ้าบรรจุเป็นแผนงานโครงการได้ที่ขอนแก่นเราเนี่ยเราใช้แนวคิดเรื่องให้ชุมชนจัดการกันเองดูแลกันเองช่วงวิกฤตโควิดเนี่ยนะครับมันเกิดปัญหาเรื่องของการคนว่างงานคนตกงานนะครับแล้วก็ไม่มาไม่มีรายได้ขาดอาหารนะครับขอนแก่นเนี่ยเทศบาลนครเอ่อมูลนิธิชุมชนขอนแก่นทศวรรษหน้าเราเนี่ยก็ได้ร่วมกับทางชุมชนของขอนแก่นแล้วก็เสนอแนวคิดเรื่องของการจัดทำเรื่องครัวกลางนะครับครัวกลางเนี่ยไม่ใช่การทำโรงทานนะครับครัวกลางเนี่ยเป็นครัวกลางที่ทำขึ้นมาเพื่อที่จะให้ชุมชนขึ้นในชุมชนเนี่ยมันมีทั้งคนอ่อนแอและเข้มแข็งในแต่ละชุมชนไม่ได้หมายความว่ามีคนอ่อนแอทั้งหมดแต่ว่าชุมชนเนี่ยเขาจะรู้ว่าใครเป็นใครอยู่ในพื้นพอมีเวลาอยู่นะครับพูดได้ใช่ไหมครับก็ขอให้กระชับหน่อยนึงผมคิดว่าแนวคิดนี้มันน่าสนใจตรงที่เราเริ่มต้นจากแนวคิดที่ว่าชุมชนจัดการกันเองหมายความว่าตอนนั้นครัวกลางเนี่ยเราใช้หลักการว่าวิกฤตโควิดตอนที่ทำอาหารเนี่ยคือมีก็จ่ายไม่มีก็แจกอยากทำบุญก็บริจาคซึ่งโมเดลนี้เนี่ยมันพบว่าชุมชนเนี่ยสามารถบริหารจัดการแล้วก็มีเม็ดเงินหมุนเวียนสำหรับการดูแลคนในชุมชนได้


แผนพัฒนา 1 ฉบับที่ 13 หมุดหมายที่ 8 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
24 กุมภาพันธ์ 2566